ไทยเผชิญปัญหาหนี้เสียพุ่ง 4% พบ 3 แบงก์ไทย เป็น NPL สูงที่สุด
ไทยกำลังเผชิญกับสถานการณ์ "หนี้เสียพุ่งสูง" ข้อมูลจากสภาธุรกิจตลาดทุนไทย พบว่าธนาคารในประเทศไทยมีสัดส่วนหนี้ที่มีปัญหาประมาณ 4% ขณะเดียวกันมีการสำรองเงินเผื่อหนี้สูญในระดับที่มากกว่าหนี้ที่มีปัญหาในสัดส่วนสูงอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ สัดส่วนบัญชีเงินฝากและระยะสั้นของไทย (น้อยกว่า 1 ปี) มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2017
ลิสซิ่งเข้มงวดก่อนปล่อยสินเชื่อรถ หลังหนี้เสียพุ่ง
หวั่นดอกเบี้ยขาขึ้น กระทบสินเชื่อผ่อนบ้าน โดยเฉพาะผู้กู้รายใหม่
และมี 3 แบงก์ไทย เผชิญ NPL สูงที่สุดมูลค่ารวมของหนี้ NPL ของธนาคาร 3 อันดับแรกของประเทศไทย มีมากกว่า 9.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็น 1.69% ของหนี้ทั้งหมด
โดยภาพรวมหนี้เสีย สำหรับธนาคารที่มีสินทรัพย์ หรือ Total Asset สูงสุด 3 อันดับแรก พบว่า มูลค่ารวมของหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรือเอ็นพีแอล ของธนาคาร 3 อันดับแรกของประเทศไทย คือ
- ธนาคารไทยพาณิชย์ ที่อยู่ภายใต้ SCBx
- ธนาคารกรุงไทย
- ธนาคารกสิกรไทย
สูงกว่าหลายประเทศไทยในอาเซีย อย่าง ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย
ขณะเดียวกัน พบว่า ในปี 2564 การปล่อยสินเชื่อ เทียบกับสัดส่วนสินเชื่อที่มีปัญหา (Loan Problem) เมื่อเทียบกับการสำรองหนี้สูญ พบว่า ธนาคารในประเทศไทยมีสัดส่วนหนี้ที่มีปัญหาประมาณ 4% ขณะเดียวกันธนาคารของประเทศไทยมีการสำรองเงินเผื่อหนี้สูญในระดับที่มาก กว่าหนี้ที่มีปัญหาในสัดส่วนสูงอย่างต่อเนื่อง และ สัดส่วนบัญชีเงินฝากระยะสั้นของไทย (น้อยกว่า 1 ปี) มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2560
สิงคโปร์ความเสี่ยงต่ำที่สุด
สำหรับ ประเทศสิงค์โปร์เป็นประเทศที่มีความเสี่ยงด้าน Economic Risk ต่ำที่สุด และภาคธุรกิจธนาคารยังเป็นประเทศที่มีการปล่อยหนี้ (Loan) และเงินฝากจากลูกค้ามากที่สุดเมื่อเทียบกับ GDP ของประเทศ
ขณะที่ ธนาคารที่มีการดำเนินงานในประเทศมาเลเซียมีจำนวนธนาคารมากที่สุดถึง 311 ธนาคาร ขณะที่ธนาคารในประเทศไทยมีจำนวนน้อยที่สุด คือ 58 ธนาคารเท่านั้น เมื่อเทียบกับ 6 ประเทศในกลุ่มอาเซียนคำพูดจาก สล็อตเว็บตรง
ส่วนประเทศฟิลิปปินส์มีเงินฝากระยะสั้นประมาณ 60% แต่เป็นประเทศที่มีจำนวนเงินฝากน้อยที่สุด และสัดส่วนหนี้ต่อเงินฝากต่ำที่สุดใน 6 ประเทศในกลุ่มอาเซียน